-40%

Phra somdej Wat Rakang Amulet Buddha worship magical, mystery spirit holy #1

$ 0.52

Availability: 56 in stock
  • Region of Origin: Southeast Asia
  • Color: Gold

    Description

    Sorry, we can't reduce the shipping cost when you buy multiple items.
    Please accept this agreement before participating in the auction.
    thank you very much
    We deliver products by Thailand Post.
    International Airmail shipping time
    We ship orders as quickly as within 72 hours along with the tracking number, normally within hours of confirming payment, but once we have passed your order to the post office the delivery time is outside of our control. International Airmail normally delivers within 14-20 day. but can take longer.
    Shipping and Handing
    We will ship to every destination in the world (worldwide).
    Your item will be shipped by registered airmail.
    As quickly as within 72 hours along with the tracking number.
    The story and the divine power of this amulet
    amulet Popularly called amulets, amulets, meaning small Buddha images[1][2] created for containment in the chedi. to commemorate the Buddha It may also include small fictitious images of noble monks, bodhisattvas, and gods. Most of which are created according to the popularity of people who believe in mercy, great power, miracles such as elusive, invincible, bringing luck.
    Amulets are various amulets that are believed to bring blessings to those who worship them. This word has only appeared in the Rattanakosin period, in the reign of King Rama IV, which also included printing amulets in the group of amulets.[3]
    History
    The amulet has a long history and evolution. Before becoming an amulet, amulets were first born. When the social context changes The motto of creating a print was changed and eventually faded. Some of the prints became amulets. Amulets are ancient items that have been made since the beginning of Buddhism. originated in India With the spread of Buddhist influence to different regions, the Buddha image, which is a sculpture of Buddhist belief, spread to different lands along with teachings. buddhist belief relics and relics including objects related to Buddhism [4]
    Buddhism came to Thailand around the Dvaravati period with belief in the creation of amulets. In the Dvaravati period, the beliefs of the Indians were directly brought into the Dvaravati period, resulting in the creation of a print in the Dvaravati period with the same purpose as India, namely the creation of a print for succession of religion, which is a belief related to Pancha. Antidhana, which appears in Buddhist scriptures As Buddhism spread to different areas of Thailand, beliefs about making amulets changed according to different factors in each area. Bodhisattva As a result, the creation of the amulet in the Srivijaya period from the printing of the Buddha image to inherit the religion has changed to the creation of the dedication of merit to the deceased and the accumulation of merit for the Bodhisattva in the future, etc.
    In the Ayutthaya period, amulets were created to create auspiciousness. holiness and inspiring various powers for carrying as a mental anchor when going to war instead of carrying old amulets such as Prachit cloth (talisman that is used to tie arms or neck) Takrud Phisamorn, etc. Later in the early Rattanakosin period, the concept of Buddhism It is also influenced by culture and science from the western nations. The creation of amulets to be used as talismans has become more popular. Amulets made for belief and faith in these various aspects of the Buddha are called "amulets".
    belief and ideology
    most amulets The build is small so that it can be built in large numbers. for packing in a pagoda so that in the future when Buddhism declined and objects collapsed, a hypothetical image of the Buddha could be found to demonstrate the prosperity of Buddhism.
    Used as a protective amulet in the battles of the ancients. is a superstitious belief
    Nowadays, it is popular to hang around the neck as an amulet for protection and prosperity in life according to Thai myths.
    Popularity of collectors
    tripartite amulet set
    Benjaphakee amulet set It began around the year 2490 to organize the Benjaphakee amulet set. and the order of the five monks of the wise or an immortal monk in the early days Mr. Triampawai or Colonel Prachon Kittiprawat (rank at that time) who initiated the organizing of the Benjaphakee amulet Which consists of amulets that are popular and old in various eras make up the five rare and most popular amulets of Thailand[5]
    Phra Somdej Wat Rakhang is a substitute for amulets created during the Rattanakosin period. The popular model is Phra Somdej built by Somdej Phra Buddhachan To Phromrangsi of Wat Rakhang Kositaram Bangkok Sian Phra Niyom hung as the president in the middle.
    Phra Rod is a substitute for amulets created in the late Dvaravati (Haripunchai) period. The popular model is Phra Rod, Wat Mahawan [6], Lamphun Province.
    The wall of the arch It is a substitute for amulets created in the Sukhothai period. The popular model is The wall of the arch Kamphaeng Phet Province In modern times, it is considered the least common amulet.
    Phra Nang Phaya is a substitute for amulets created in the Ayutthaya period. The popular model is Phra Nang Phaya, Wat Nang Phaya, Phitsanulok Province.
    Phra Phong Suphan is a substitute for amulets created in the U-Thong period. The popular model is Phra Phong Suphan, Sri Mahathat Temple. Suphanburi Province
    Various models of Phra Somdej
    Phra Somdej Bang Khun Phrom
    Phra Kring Khlong Takhian
    Phra Phairi perish
    blindfolded monk
    Luang Pu Tuad[7]
    Luang Pho Ngein
    Reverend Father Koon Parisutho[8]
    Reverend Father Sothorn
    Reverend Father, Pak Nam Temple, Pak Nam Temple, Phasi Charoen
    Phra Kring, various models that are popular are Phra Kring Wat Suthat and Phra Pawaret Kring[9]
    พระเครื่องราง นิยมเรียกโดยย่อว่า พระเครื่อง หมายถึง พระพุทธรูปขนาดเล็ก[1][2] สร้างไว้สำหรับบรรจุไว้ในเจดีย์ เพื่อเป็นที่ระลึกถึงพระพุทธเจ้า อาจจะรวมถึงรูปสมมติขนาดเล็กของพระสงฆ์อริยบุคคล พระโพธิสัตว์ และเทพเจ้าด้วย ซึ่งส่วนใหญ่สร้างขึ้นตามความนิยมของบุคคลที่มีความเชื่อในเมตตามหานิยม อิทธิ์ฤิทธิ์ ปาฏิหารย์ เช่น แคล้วคลาด, อยู่ยงคงกระพัน, นำโชค
    พระเครื่องเป็นการเรียกเครื่องรางต่าง ๆ ที่เชื่อว่าทำให้เกิดพุทธคุณแก่ผู้ที่มีไว้บูชา คำนี้เพิ่งมีปรากฏในสมัยรัตโกสินทร์สมัยรัชกาลที่ 4 ซึ่งก็นับรวมถึงพระพิมพ์เข้ามาอยู่ในกลุ่มพระเครื่องด้วย[3]
    ประวัติการสร้าง
    พระเครื่องมีความเป็นมาและวิวัฒนาการอันยาวนาน ก่อนจะมาเป็นพระเครื่องนั้นได้เกิดพระพิมพ์ขึ้นมาก่อน เมื่อบริบททางสังคมเปลี่ยนไป คติการสร้างพระพิมพ์ก็เปลี่ยนแปลงไปและเลือนหายไปในที่สุด พระพิมพ์บางส่วนกลายมาเป็นพระเครื่อง พระพิมพ์เป็นของเก่าแก่ที่ได้มีผู้ทำขึ้นตั้งแต่ตอนต้นพุทธศาสนา มีต้นกำเนิดอยู่ที่ประเทศอินเดีย การแผ่ขยายอิทธิพลทางพุทธศาสนาไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ ทำให้พระพิมพ์ซึ่งเป็นประติมากรรมเนื่องในคติทางพุทธศาสนาได้แผ่กระจายไปยังดินแดนต่าง ๆ พร้อมกับคำสอน ความเชื่อทางพุทธศาสนา พระธาตุและพระบรมสารีริกธาตุ รวมถึงวัตถุเนื่องในพุทธศาสนาด้วย[4]
    พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศไทยราวสมัยทวารวดีพร้อมกับความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ ในสมัยทวารวดีได้รับเอาคติความเชื่อของชาวอินเดียเข้ามาโดยตรงส่งผลให้การสร้างพระพิมพ์ในสมัยทวารวดีมีวัตถุประสงค์การสร้างเหมือนกับอินเดีย คือ การสร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาซึ่งเป็นความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องปัญจอันตรธานซึ่งปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนา เมื่อพุทธศาสนาแผ่ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย ความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ก็เปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่าง ๆ แต่ละพื้นที่ อาทิ พุทธศาสนาสมัยศรีวิชัยได้รับอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเชื่อเรื่องการบำเพ็ญบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ ส่งผลให้การสร้างพระพิมพ์ในสมัยศรีวิชัยจากที่สร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาเปลี่ยนแปลงไปสู่การสร้างเพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตายและเป็นการสะสมบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ในภายหน้า เป็นต้น
    ในสมัยอยุธยาเริ่มมีการสร้างพระพิมพ์เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคล ความศักดิ์สิทธิ์ และดลบันดาลให้เกิดอานุภาพต่าง ๆ สำหรับพกเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจเวลาไปสงครามแทนการพกเครื่องรางแบบเก่า เช่น ผ้าประเจียด (ผ้ายันต์ที่ใช้ผูกแขนหรือคล้องคอ) ตะกรุด พิสมร เป็นต้น ต่อมาในสมัยต้นรัตนโกสินทร์เกิดการเปลี่ยนแนวคิดทางพุทธศาสนา อีกทั้งได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมและวิทยาการจากชาติตะวันตก การสร้างพระพิมพ์เพื่อใช้เป็นเครื่องรางของขลังได้รับความนิยมมากขึ้น พระพิมพ์ที่สร้างเพื่อความเชื่อและความศรัทธาในพุทธคุณด้านต่าง ๆ เหล่านี้เรียกว่า “พระเครื่อง”
    ความเชื่อและคตินิยม
    เครื่องรางส่วนใหญ่ การสร้างสร้างให้มีขนาดเล็กเพื่อที่จะสามารถสร้างได้จำนวนมาก สำหรับบรรจุในเจดีย์ เพื่อว่าในอนาคตเมื่อพระพุทธศาสนาเสื่อมลง วัตถุต่าง ๆ พังทลายยังสามารถพบรูปสมมุติของพระพุทธเจ้าเพื่อแสดงให้เห็นความเจริญรุ่งเรื่องของพระพุทธศาสนา
    ใช้เป็นเครื่องรางสำหรับคุ้มครองป้องกันในการออกศึกสงครามของคนโบราณ เป็นความเชื่อทางไสยศาสตร์อย่างหนึ่ง
    ปัจจุบันนิยมนำมาห้อยคอเป็นเครื่องรางสำหรับคุ้มครองป้องกันและเพื่อความเจริญรุ่งเรืองในชีวิตตามความเชื่อปรัมปราของไทย
    ความนิยมของผู้นิยมสะสม
    พระเครื่องชุดไตรภาคี
    พระเครื่องชุดเบญจภาคี เริ่มมีขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2490 การจัดพระเครื่องชุดเบญจภาคี และลำดับพระเบญจภาคีของท่านผู้รู้ หรือเซียนพระในยุคแรกๆ ท่านตรียัมปวาย หรือ พันเอกประจญ กิตติประวัติ(ยศในขณะนั้น) ผู้ริเริ่มนำการจัดพระชุดเบญจภาคี อันประกอบด้วยพระเครื่องที่มีความนิยมและเก่าแก่ในสมัยต่าง ๆ ประกอบขึ้นเป็นห้าพระเครื่องที่หายากและมีความนิยมสูงสุด ของไทย[5]
    พระสมเด็จฯ วัดระฆัง เป็นองค์แทนพระเครื่องที่สร้างในสมัยรัตนโกสินทร์ รุ่นที่นิยมคือ พระสมเด็จฯที่สร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิตาราม จังหวัดกรุงเทพมหานคร เซียนพระนิยมห้อยแขวนเป็นประธานอยู่ตรงกลาง
    พระรอด เป็นองค์แทนพระเครื่องที่สร้างในสมัยทวาราวดีตอนปลาย (หริภุญชัย) มีอายุการสร้างเก่าแก่ที่สุด รุ่นที่นิยมคือ พระรอด กรุวัดมหาวัน[6] จังหวัดลำพูน
    พระกำแพงซุ้มกอ เป็นองค์แทนพระเครื่องที่สร้างในสมัยสุโขทัย รุ่นที่นิยมคือ พระกำแพงซุ้มกอ จังหวัดกำแพงเพชร ในยุคปัจจุบันถือเป็นพระที่พบเจอน้อยที่สุด
    พระนางพญา เป็นองค์แทนพระเครื่องที่สร้างในสมัยอยุธยา ซึ่งรุ่นที่นิยมคือ พระนางพญา วัดนางพญา จังหวัดพิษณุโลก
    พระผงสุพรรณ เป็นองค์แทนพระเครื่องที่สร้างในสมัยอู่ทอง ซึ่งรุ่นที่นิยม คือ พระผงสุพรรณ วัดศรีมหาธาตุ จังหวัดสุพรรณบุรี
    พระสมเด็จฯ รุ่นต่าง ๆ
    พระสมเด็จบางขุนพรหม
    พระกริ่งคลองตะเคียน
    พระไพรีพินาศ
    พระปิดตา
    หลวงปู่ทวด[7]
    หลวงพ่อเงิน
    หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ[8]
    หลวงพ่อโสธร
    หลวงพ่อวัดปากน้ำ วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
    พระกริ่ง รุ่นต่าง ๆ ที่เป็นที่นิยมคือ พระกริ่งวัดสุทัศน์ และ กริ่งพระปวเรศ[9]